QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Melientha suavis Pierre
|
ชื่อสามัญ |
-
|
ชื่ออื่น |
ผักหวาน
|
วงค์ หมวดหมู่ |
ยังไม่จัดหมวด
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ยืนต้น
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
การตอน ปักชำ เพาะเมล็ด
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปไข่
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลกลุ่ม
|
ประเภทของดอก |
ช่อแยกแขนง
|
ประเภทของดอก |
ช่อแยกแขนง
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
ผักหวานป่าเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ แตกใบออกเป็นใบเดี่ยวๆ เรียงสลับกันบริเวณปลายกิ่ง มีก้านใบสั้น ใบมีรูปไข่ค่อนข้างรี โคนใบสอบ ปลายใยแหลม แผ่นใบ และขอบใบเรียบ ใบอ่อนหรือยอดอ่อนมีสีเขียวอ่อน ใบแก่มีสีเขียวเข้ม และเป็นมัน แผ่นใบบาง ค่อนข้างกรอบ ขนาดใบกว้างประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5-12 เซนติเมตร
|
ลักษณะของใบ |
ผักหวานป่าเป็นพืชใบเลี้ยงคู่ แตกใบออกเป็นใบเดี่ยวๆ เรียงสลับกันบริเวณปลายกิ่ง มีก้านใบสั้น ใบมีรูปไข่ค่อนข้างรี โคนใบสอบ ปลายใยแหลม แผ่นใบ และขอบใบเรียบ ใบอ่อนหรือยอดอ่อนมีสีเขียวอ่อน ใบแก่มีสีเขียวเข้ม และเป็นมัน แผ่นใบบาง ค่อนข้างกรอบ ขนาดใบกว้างประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5-12 เซนติเมตร
|
ลักษณะของผล |
การพัฒนาของผลตั้
งแต่เริ่มติดผล ประมาณกลางเดือนมีนาคม จนสุกแก่ ปลายเดือน เมษายน ใช้เวลา
ประมาณ 6 - 8 สัปดาห์ผลแก่จะติดอยูบนต้นประมาณ ่ 2 - 3 สัปดาห์กลางเดือน พฤษภาคม จะสุกงอมเต็มที่
และร่วงหล่น ลักษณะของผลเป็ นผลเดี่ยว มีเมล็ดแข็งเมล็ดเดียวอยูภายใน
|
ลักษณะของดอก |
ก ผักหวานมีดอกเป็ นช่อแบบแยกแขนง
ยาวประมาณ 7 -12 เซนติเมตร ดอกเพศผู้และ
ดอกเพศเมียอยู่แยกต้นกนั ช่อดอกเพศเมีย
แตกเป็ นกระจุก 20 - 50 ช่อจากปุ่ มปมบริเวณ
ลําต้นและกิ่ง พัฒนาเป็ นช่อดอกและบาน
เต็มที่ใน 6 สัปดาห์ ดอกพัฒนาเป็ นผลเล็กๆ
ใน 8 สัปดาห์ช่อดอกเพศผู้แตกกระจัดกระจายบนกิ่
งและลําต้น มีลักษณะเป็ นช่อเดี่ยว หรือ 2 - 3 ช่อจากจุด
เดียวกนั เมื่อช่อดอกพัฒนาถึงที่สุดประมาณ 6 สัปดาห์ก็จะเหี่ยวและร่วงไป
|
รายละเอียดของเปลือก |
-
|
ลักษณะของต้น |
ผักหวานป่ าจัดเป็ นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีความสูง 6 -15 เมตร ต้นในป่ า
ที่ไม่ถูกรบกวนโดยมนุษย์ สามารถมีลักษณะเปลาตรงได้ แต่ที่พบโดยทัวไปมัก ่
มีลักษณะเป็ นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก หรือเป็ นไม้พุ่ม เนื่องจากมีการหักกิ่ง เพื่อ
กระตุ้นให้เกิดกิ่
งและยอดอ่อน เด็ดยอดเพื่อนําไปประกอบอาหาร สีของลําต้น
ต้นแก่มีสีนํ้
าตาลอ่อนถึงสีนํ้าตาลอมเทา เปลือกแตกเป็ นร่องลึกรูปเหลี่ยม ต้น
อ่อนมีเปลือกสีเทาอ่อนมีลายเล็กๆ
|
ประโยชน์ |
1. ยอดอ่อนของผักหวานป่ามีความกรอบ และหวานมัน จึงนิยมนำประกอบอาหารในหลายเมนู อาทิ แกงผักหวานป่าใส่ไข่มดแดง แกงเลียง แกงจืด ผัดใส่ไข่ ทำไข่เจียว เป็นต้น
2. เมล็ดผักหวานป่านำมาต้มให้สุกใช้รับประทาน เยื่อหุ้มเมล็ด และเนื้อเมล็ดให้รสหวานมัน
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|