QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Garcinia nigrolineata Planch.
|
ชื่อสามัญ |
ชะมวง
|
ชื่ออื่น |
ยอดมวง
|
วงค์ หมวดหมู่ |
CLUSIACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ยืนต้น
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ชะมวงสามารถเจริญ เติบโตในดินทุกชนิด จะปลูกในดินร่วนปนทราย ดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง สามารถปลูกได้ทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดูในประเทศไทย เป็นพืชที่ทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี
การปลูกใช้เมล็ดปักชำหรือตอนกิ่ง ปลูกลงในแปลงดินที่เตรียมไว้ โดยนำใส่ลงในลงหลุมปลูก พร้อมกลบดินให้แน่นพอประมาณ ให้มีระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 4?4 ม.
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงตรงข้าม
|
รูปร่างของใบ |
รูปเข็ม
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลรวม
|
ประเภทของดอก |
ดอกสมบูรณ์
|
ประเภทของดอก |
ดอกสมบูรณ์
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
ป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือเขียวอมม่วงแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม (สีน้ำเงินเข้ม) ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน บริเวณปลายกิ่งมักแตกเป็น 1-3 ยอด ตัวใบค่อนข้างหนาและแข็งก้านใบสีเขียวและยาว 1.2-1.9 เซนติเมตรตัวใบยาว 18-20 เซนติเมตร ขอบใบเรียบมีกลิ่นเล็กน้อย เส้นใบไม่ชัด แต่ด้านหลังของใบเห็นเส้นกลาง
|
ลักษณะของใบ |
ป็นใบเดี่ยว ใบอ่อนสีเขียวอ่อนหรือเขียวอมม่วงแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม (สีน้ำเงินเข้ม) ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน บริเวณปลายกิ่งมักแตกเป็น 1-3 ยอด ตัวใบค่อนข้างหนาและแข็งก้านใบสีเขียวและยาว 1.2-1.9 เซนติเมตรตัวใบยาว 18-20 เซนติเมตร ขอบใบเรียบมีกลิ่นเล็กน้อย เส้นใบไม่ชัด แต่ด้านหลังของใบเห็นเส้นกลาง
|
ลักษณะของผล |
ทรงกลมข้างผลเว้าเป็นพู เมื่อสุกมีสีเหลืองส้ม ผลมีเนื้อหนาสีเหลืองรสฝาด
|
ลักษณะของดอก |
กลีบแข็งคล้ายดอกมะดัน สีนวลเหลือง มีกลิ่นหอมและออกจำนวนมาก ใหญ่ประมาณ 10-15 มม. ดอกออกตามกิ่ง
|
รายละเอียดของเปลือก |
-
|
ลักษณะของต้น |
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางสูงประมาณ 10 ม. ลำต้นเกลี้ยงเละแตกกิ่งใบตอนบนของลำต้น เปลือกต้นสีดำน้ำตาลขรุขระ กิ่งย่อยผิวเรียบ
|
ประโยชน์ |
ราก : แก้ไข้ แก้ร้อนในกระหายน้ำ ถอนพิษไข้ แก้บิด
ต้น : ให้ยางสีเหลืองใช้ย้อมผ้า
ใบและผล : เป็นยาระบาย กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุพิการ แก้ไอ ฟอกโลหิต
ใบอ่อน : สีแดงมีรสเปรี้ยวกินได้
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|