QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Hibiscus rosa-sinensis L.
|
ชื่อสามัญ |
-
|
ชื่ออื่น |
ชบา (ภาคกลาง); ชบาขาว, ชุมบา (ปัตตานี); บา (ภาคใต้); ใหม่, ใหม่แดง (ภาคเหนือ)
|
วงค์ หมวดหมู่ |
SAPINDACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้พุ่ม
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ปักชำ เสียบยอด ติดตา
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปรี
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลรวม
|
ประเภทของดอก |
ดอกเดียว
|
ประเภทของดอก |
ดอกเดียว
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 5-9 ซม. ยาว 7-12 ซม. โคนใบมนหรือกว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยักมนหรือ จักฟันเลื่อยหรือเว้าเป็น 3 พู แผ่นใบบาง สีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 2-4 ซม. มีหูใบแบบ free lateral stipule
|
ลักษณะของใบ |
ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 5-9 ซม. ยาว 7-12 ซม. โคนใบมนหรือกว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยักมนหรือ จักฟันเลื่อยหรือเว้าเป็น 3 พู แผ่นใบบาง สีเขียวเข้ม ก้านใบยาว 2-4 ซม. มีหูใบแบบ free lateral stipule
|
ลักษณะของผล |
ผลเดี่ยวแบบ capsule สีน้ำตาล เมื่อแก่จะแห้งและแตกเป็น 5 แฉก
|
ลักษณะของดอก |
ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกชั้นเดียวถึงดอกซ้อน เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-15 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 5 กลีบ มีสีต่างๆ เช่น แดง ชมพู ส้ม ขาว เหลือง ปลายกลีบดอกมนและกลม ก้านเกสรเพศเมียและเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอดยาว โผล่พ้นกลีบดอก
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกลำต้นมีเส้นใยและยางเมือก สามารถดึงลอกออกเป็นเส้นเชือกได้
|
ลักษณะของต้น |
เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง เนื้ออ่อน เปลือกค่อนข้างเหนียว ลำต้นสูงประมาณ 8 ฟุต
|
ประโยชน์ |
เปลือกของต้น ใช้นำมาต้มบ้านได้ มาเป็นยาหม้อแก้ท้องร่วง เนื้อไม้ สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องประดับ เนื้อลำไย สามารถบริโภคได้ ถ้านำไปตากแห้ง สามารถนำมาเป็นยาบำรุงกำลัง ให้หลับสบาย และเจริญอาหาร
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|