QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Piper sarmentosum Roxb.
|
ชื่อสามัญ |
Wildbetal Leafbush
|
ชื่ออื่น |
ชะพลู, ช้าพลู
|
วงค์ หมวดหมู่ |
ยังไม่จัดหมวด
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ล้มลุก
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ขยายพันธ์โดยปักชำในดินร่วนซุย รดน้ำให้ชุ่มในระยะที่ต้นกล้ายังไม่แข็งแรง ไม่ควรให้โดนแดดมากนัก
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปหัวใจ
|
แบ่งชนิดของผล |
ไม่มี
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจรูปทรงคล้ายกับใบพลู แต่มีขนาดใบเล็กกว่า มีสีเขียวเข้มเป็นใบเดี่ยว รสชาติเผ็ดอ่อน ๆ
|
ลักษณะของใบ |
ใบมีลักษณะคล้ายรูปหัวใจรูปทรงคล้ายกับใบพลู แต่มีขนาดใบเล็กกว่า มีสีเขียวเข้มเป็นใบเดี่ยว รสชาติเผ็ดอ่อน ๆ
|
ลักษณะของผล |
-
|
ลักษณะของดอก |
ดอกชะพลู ดอกออกเป็นช่อ ออกบริเวณปลายยอด อัดแน่นกันเป็นทรงกระบอกขนาดเล็ก มีลักษณะคล้ายดีปลีแต่สั้นกว่า มีสีขาว ก้านช่อดอกเป็นก้านโดด
|
รายละเอียดของเปลือก |
-
|
ลักษณะของต้น |
ชะพลู เป็นพืชผักสมุนไพร เป็นพืชมีอายุยืนยาว ที่เจริญเติบโตได้ง่ายๆ มีความสูงประมาณ 60 ซม. มีลำต้นกลมๆ ต้นของชะพลูมีสีเขียวนว
|
ประโยชน์ |
ในใบชะพลูมีสารบีตา-แคโรทีนสูงมาก ใบนำมารับประทานกับเมี่ยงคำ นำมาแกงใส่กะทิ ข้าวยำ ห่อหมก หรือเป็นผักจิ้มน้ำพริก ทางภาคใต้ใส่ในแกงกะทิหอยขม แกงคั่วปู[8]ในจังหวัดจันทบุรีใส่ในแกงป่าปลา[9] ในใบมีออกซาเลตสูง จึงไม่ควรรับประทานมากเป็นประจำ
ชะพลูเป็นพืชที่มีสรรพคุณทางยา ดอกทำให้เสมหะแห้ง ช่วยขับลมในลำไส้ รากขับเสมหะให้ออกมาทางระบบขับถ่าย ขับลมในลำไส้ ทำให้เสมหะแห้ง ต้นขับเสมหะในทรวงอก ใบมีรสเผ็ดร้อน ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ใบ ต้น และดอกใช้ขับเสมหะ รากใช้ขับลม น้ำต้มทั้งต้นช่วยลดน้ำตาลในเลือดของกระต่ายที่เป็นเบาหวานได้
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|