QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Tamarindus indica L.
|
ชื่อสามัญ |
Indian date/ Tamarind
|
ชื่ออื่น |
ม่อนโคล้ง (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี)/ ตะลูบ (ชาวบน-นครราชสีมา)/ มอดแล ส่ามอเกล (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)/ หมากแกง (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน)
|
วงค์ หมวดหมู่ |
FABACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ยืนต้น
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ขยายพันธุ์โดยการเพาเมล็ด ปักชำ
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปขอบขนาน
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลเดี่ยว
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้ร่อง
|
ลักษณะของใบ |
เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ออกเรียงสลับ ใบย่อยเป็นรูปขอบขนาน กว้าง 5-8 มม. ยาว 1.0-1.5 มม. ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว มีรสเปรี้ยว
|
ลักษณะของใบ |
เป็นใบประกอบแบบขนนก ชั้นเดียว ออกเรียงสลับ ใบย่อยเป็นรูปขอบขนาน กว้าง 5-8 มม. ยาว 1.0-1.5 มม. ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว มีรสเปรี้ยว
|
ลักษณะของผล |
เป็นฝัก คอดเป็นข้อตามเมล็ด ฝักแก่ เปลือกแข็งเปราะ สีเทาอมน้ำตาล เนื้อนิ่มมีสีน้ำตาล มีรสเปรี้ยว เมล็ดค่อนข้างกลม เนื้อแข็ง ผิวเป็นมันลื่น มีสีดำหรือน้ำตาลเข้ม
|
ลักษณะของดอก |
ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งและซอกใบ ดอกสีเหลือง มีจุดประสีแดง กลีบดอก 5 กลีบ ปลายแหลม
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกต้นมีสีน้ำตาล แตกเป็นร่องตามยาว
|
ลักษณะของต้น |
เป็นไม้ยืนต้น สูง 10-25 ม. แตกกิ่งก้านแผ่กว้างเป็นพุ่มกลม เปลือกต้นมีสีน้ำตาล แตกเป็นร่องตามยาว
|
ประโยชน์ |
สมุนไพร,พืชให้ร่มเงา
-เปลือกต้น มีรสฝาดเมาร้อน แก้แมงกินฟัน แก้เหงือกบวม แก้พยาธิผิวหนัง ต้มหรือฝนกับน้ำปูน ใส ทารักษาบาดแผลเรื้อรัง ใช้ชะล้างบาดแผล
-แก่น มีรสฝาดเมา กล่อมเสมหะและโลหิต
-ใบแก่ มีรสเปรี้ยวฝาด ขับเลือดลมในลำไส้ ขับเสมหะ ฟอกโลหิต แก้บิด แก้ไอ
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|