QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Kopsia arborea Blume
|
ชื่อสามัญ |
ไม่มี
|
ชื่ออื่น |
พุดดง มะดีควาย, หนำเลี๊ยบเทียม
|
วงค์ หมวดหมู่ |
APOCYNACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้พุ่ม
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
เพาะเมล็ด
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงตรงข้าม
|
รูปร่างของใบ |
รูปใบหอก
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลเดี่ยว
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร ปลายใบเรียว แหลม โคนใบสอบ ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน
|
ลักษณะของใบ |
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก กว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร ปลายใบเรียว แหลม โคนใบสอบ ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบสีเขียวเป็นมัน
|
ลักษณะของผล |
ผลสด รูปกระสวยมักออกเป็นคู่ เมื่อสุกสีม่วงดำผลมีสีเขียวรูปทรงรี ดูคล้ายลูกหนำเลี้ยบ เมื่อผลสุกจะมีสีดำอมม่วงเข้ม แต่กินไม่ได้ แค่มีลักษณะคล้ายกัน ทำให้หลายคนมักเข้าใจผิด จึงเรียกอีกชื่อว่า หนำเลี้ยบเทียม
|
ลักษณะของดอก |
สีขาว กลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ใบประดับ 1 คู่ ออก ตรงข้าม รูปแถบยาว แต่ละช่อย่อยมีดอกย่อย 3 ดอก โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบมีขนาดไม่เท่ากัน ตรงโคนสีแดงส้ม มีขน ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปขอบขนาน ปลายมน ดอกกลางบานก่อนดอกบานเต็มที่กว้าง 2.5-4.0 เซนติเมตร
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกสีน้ำตาลอมเทา
|
ลักษณะของต้น |
เป็นไม้พุ่ม หรือไม้ต้นขนาดเล็ก
|
ประโยชน์ |
ราก ชงน้ำดื่มแก้ท้องเสีย แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ผสมกับผลพริกไทย ดีปลี และกิ่งฮ่อสะพายควาย เปลือกหมีดงและยาดำ ดองเหล้าขาวดื่มช่วยเจริญอาหาร แก้ปวดเมื่อย
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|