QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Saccharum officinarum L.
|
ชื่อสามัญ |
Sugar cane
|
ชื่ออื่น |
อ้อยขม อ้อยดำ
|
วงค์ หมวดหมู่ |
GRAMINEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ล้มลุก
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ขยายพันธุ์ด้วยการใช้หน่อจากเหง้าหรือตัดลำต้นมาชำ ไม่นิยมขยายพันธุ์จากเมล็ด
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงเวียนสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปใบหอก
|
แบ่งชนิดของผล |
ไม่มี
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
เป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบจะเป็นกาบหุ้มลำต้นติดแน่นอยู่บริเวณข้อแต่ละข้อ และออกสลับเวียนกันขึ้นไป เนื้อใบมีขนสาก ขอบใบจักถี่เป็นหนามคม เส้นกลางใบใหญ่ มีกระดูกก้านและห่อเป็นรูปรางน้ำ อ้อยแดงมีหลายพันธุ์ เช่น ชนิดใบเขียว กาบเขียวอ่อน ชนิดใบม่วงปลายมีสีเขียวอมม่วง กาบใบสีม่วงแดง และชนิดเปลือกต้นเหลืองอมแดงมีตาสีแดงเข้ม
|
ลักษณะของใบ |
เป็นใบเดี่ยว ลักษณะใบรูปใบหอกแคบ ๆ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบจะเป็นกาบหุ้มลำต้นติดแน่นอยู่บริเวณข้อแต่ละข้อ และออกสลับเวียนกันขึ้นไป เนื้อใบมีขนสาก ขอบใบจักถี่เป็นหนามคม เส้นกลางใบใหญ่ มีกระดูกก้านและห่อเป็นรูปรางน้ำ อ้อยแดงมีหลายพันธุ์ เช่น ชนิดใบเขียว กาบเขียวอ่อน ชนิดใบม่วงปลายมีสีเขียวอมม่วง กาบใบสีม่วงแดง และชนิดเปลือกต้นเหลืองอมแดงมีตาสีแดงเข้ม
|
ลักษณะของผล |
ไม่มี
|
ลักษณะของดอก |
ออกดอกรวมกันเป็นช่อใหญ่ยาว ออกที่ปลายสุดของลำต้น ดอกมีสีขาว จะออกดอกเมื่อต้นแก่เต็มที่ ก้านช่อดอกไม่มีขน มีเมล็ดแหลมมาก รอบโคนเมล็ดจะมีปุยสีขาวเป็นมันหุ้มและปุยนี้จะช่วยพยุงให้เมล็ดปลิวไปได้ไกลๆ ออกดอกในฤดูหนาว
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกสีแดงอมม่วง มีตาออกตามข้อ ลำต้นแข็งเป็นมัน เนื้ออ่อน ฉ่ำน้ำ เปลือกมีรสขม น้ำไม่ค่อยหวานแหลมเหมือนอ้อยธรรมดา มักมีรากอากาศอยู่ประปราย
|
ลักษณะของต้น |
ลำต้นแข็งแรง ต้นมีลักษณะคล้ายต้นอ้อยทั่วไป แต่จะมีสีม่วงแดง ถึงดำ มีไขสีขาวปกคลุม ไม่แตกกิ่งก้าน ลำต้นกลมยาว เห็นข้อและปล้องชัดเจน แต่ละปล้องอาจยาวหรือสั้นก็ได้ ผิวเรียบ เปลือกสีแดงอมม่วง มีตาออกตามข้อ ลำต้นแข็งเป็นมัน เนื้ออ่อน ฉ่ำน้ำ เปลือกมีรสขม น้ำไม่ค่อยหวานแหลมเหมือนอ้อยธรรมดา มักมีรากอากาศอยู่ประปราย
|
ประโยชน์ |
เปลือกต้น แก้ตานขโมย แก้แผลเน่าเปื่อย
ชานอ้อย แก้แผลเรื้อรัง และแก้ฝีอักเสบบวม
ลำต้น แก้ร้อนใน ขับปัสสาวะ ขับเสมหะ แก้หือดไอ แก้คลื่นไส้อาเจียน แก้ไข้สัมประชวน แก้ปัสสาวะพิการ ขับนิ่ว แก้ท้องผูก บำรุงกระเพาะอาหาร แก้ขัดเบา บำรุงธาตุ แก้สะอึก แก้ตัวร้อน และแก้พิษตานซาง
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|