QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Drynaria quercifolia (L.) J.Sm.
|
ชื่อสามัญ |
Oak-leaf fern Drynaria
|
ชื่ออื่น |
กระแตไต่ไม้ (ภาคกลาง), กระปรอก (จันทบุรี), กระปรอกว่าว (ประจวบคีรีขันธ์, ปราจีนบุรี), กูดขาฮอก เช้าวะนะ พุดองแคะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เดาน์กาโละ (มลายู-ปัตตานี), ใบหูช้าง สไบนาง (กาญจนบุรี), สะโมง
|
วงค์ หมวดหมู่ |
POLYPODIACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ประดับอื่นๆ
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการใช้เหง้าหรือสปอร์
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับระนาบเดียว
|
รูปร่างของใบ |
รูปไข่
|
แบ่งชนิดของผล |
ไม่มี
|
ประเภทของดอก |
ไม่มี
|
ประเภทของดอก |
ไม่มี
|
ประเภทของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของใบ |
ใบเป็นใบเดี่ยว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ชนิดแรกได้แก่ ใบที่ไม่สร้างสปอร์ ใบจะประกบต้นตั้งเฉียงกับลำต้น ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบมนหรือแหลม ส่วนฐานใบเป็นรูปหัวใจ ใบมีความกว้างประมาณ 20 เซนติเมตรและอาจยาวได้ถึง 32 เซนติเมตร ขอบใบเว้าเป็นแฉกตื้น ๆ หุ้มอยู่บริเวณเหง้า ผิวของใบอ่อนมีขนเป็นรูปดาว ชนิดนี้ใบจะไม่มีก้าน และชนิดที่สองคือ ใบที่ไม่สร้างสปอร์ ชนิดนี้จะอยู่สูงกว่าใบที่สร้างสปอร์ และชี้ขึ้นด้านบน ลักษณะของแผ่นใบจะเป็นรูปขอบขนานหรือเป็นรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม ส่วนฐานใบเป็นรูปลิ่ม ใบมีความกว้างประมาณ 50 เซนติเมตร และอาจยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร ส่วนขอบใบมีลักษณะเว้าลึกเกือบถึงเส้นกลางใบ (คล้ายกับใบสาเก) เป็นพู เรียงตัวกันแบบขนนก ใบมีสีเขียวหม่นเป็นมัน เนื้อใบเหนียว และมีก้านใบยาวประมาณ 15-25 เซนติเมตร ที่โคนก้านใบจะมีเกล็ดสีน้ำตาลดำ กลุ่มอับสปอร์ลักษณะเป็นรูปกลมหรือเป็นรูปขอบขนาน เรียงเป็นสองแถวอยู่ระหว่างเส้นของใบย่อย แอนนูลัสประกอบไปด้วยเซลล์เพียงแถวเดียว เรียงตัวในแนวตั้ง และไม่มีเยื่อคลุมกลุ่มอับสปอร์
|
ลักษณะของใบ |
ใบเป็นใบเดี่ยว แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ชนิดแรกได้แก่ ใบที่ไม่สร้างสปอร์ ใบจะประกบต้นตั้งเฉียงกับลำต้น ลักษณะของใบเป็นรูปไข่ ปลายใบมนหรือแหลม ส่วนฐานใบเป็นรูปหัวใจ ใบมีความกว้างประมาณ 20 เซนติเมตรและอาจยาวได้ถึง 32 เซนติเมตร ขอบใบเว้าเป็นแฉกตื้น ๆ หุ้มอยู่บริเวณเหง้า ผิวของใบอ่อนมีขนเป็นรูปดาว ชนิดนี้ใบจะไม่มีก้าน และชนิดที่สองคือ ใบที่ไม่สร้างสปอร์ ชนิดนี้จะอยู่สูงกว่าใบที่สร้างสปอร์ และชี้ขึ้นด้านบน ลักษณะของแผ่นใบจะเป็นรูปขอบขนานหรือเป็นรูปหอก ปลายใบเรียวแหลม ส่วนฐานใบเป็นรูปลิ่ม ใบมีความกว้างประมาณ 50 เซนติเมตร และอาจยาวได้ถึง 80 เซนติเมตร ส่วนขอบใบมีลักษณะเว้าลึกเกือบถึงเส้นกลางใบ (คล้ายกับใบสาเก) เป็นพู เรียงตัวกันแบบขนนก ใบมีสีเขียวหม่นเป็นมัน เนื้อใบเหนียว และมีก้านใบยาวประมาณ 15-25 เซนติเมตร ที่โคนก้านใบจะมีเกล็ดสีน้ำตาลดำ กลุ่มอับสปอร์ลักษณะเป็นรูปกลมหรือเป็นรูปขอบขนาน เรียงเป็นสองแถวอยู่ระหว่างเส้นของใบย่อย แอนนูลัสประกอบไปด้วยเซลล์เพียงแถวเดียว เรียงตัวในแนวตั้ง และไม่มีเยื่อคลุมกลุ่มอับสปอร์
|
ลักษณะของผล |
ไม่มี
|
ลักษณะของดอก |
ไม่มี
|
รายละเอียดของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของต้น |
จัดเป็นไม้ล้มลุกจำพวกเฟิร์นที่เลื้อยเกาะอยู่บนต้นไม้หรือตามก้อนโขดหิน ในที่ที่มีร่มเงาหรือแสงแดด หรือตามชายป่า ลำต้นจะทอดนอนยาวได้ถึง 1 เมตร ส่วนลำต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร โดยต้นกระแตไต่ไม้นี้จะกระจายพันธุ์อยู่ตามป่าเขตร้อน เหง้ามีลักษณะเป็นหัวกลม ยาว ปกคลุมไปด้วยเกล็ดสีน้ำตาลเข้มและมีขนยาวสีน้ำตาลคล้ายกำมะหยี่ปกคลุมอยู่ ส่วนเนื้อในมีสีขาวและเขียว
|
ประโยชน์ |
ส่วนหัวของกระแตไต่ไม้ ปรุงเป็นยาต้มรับประทานเป็นยาขับปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้ปัสสาวะพิการและกระปริกระปรอย ขับระดูขาว แก้เบาหวาน แก้ไตพิการ เป็นยาคุมธาตุ เป็นยาเบื่อพยาธิ
ใบ ตำพอกแผล แก้แผลเรื้อรังและแผลพุพอง
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|