QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Curcuma xanthorrhiza Roxb.
|
ชื่อสามัญ |
-
|
ชื่ออื่น |
ว่านหมาวัด(อุบลราชธานี) , ว่านทรหด , ว่านหำหด , ว่านพญาหัวศึก ,ว่านการบูรเลือด
|
วงค์ หมวดหมู่ |
ZINGIBERACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ล้มลุก
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ว่านชักมดลูก ว่านทรหด สามารถนำไปปลูก และขยายพันธุ์ด้วยส่วนหัวหรือเหง้าแขนง ทั้งชนิดที่เป็นหัวกลม และชนิดที่เป็นเหง้าแขนง
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงเวียนสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปรี
|
แบ่งชนิดของผล |
ไม่มี
|
ประเภทของดอก |
ดอกเดียว
|
ประเภทของดอก |
ดอกเดียว
|
ประเภทของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของใบ |
ใบ ใบว่านชักมดลูก ว่านทรหด มีลักษณะใบเป็นใบเดี่ยว ใบมีลักษณะรียาว ใบมีขนาดกว้างประมาณ 15 ? 20 ซม. ยาวประมาณ 40 ? 100 ซม. ใบมองเห็นเป็นแถบยาวของเส้นใบอย่างชัดเจน แถบเส้นใบกว้างประมาณ 0.5 ? 1 ซม. โดยต้นที่ใบมีเส้นกลางใบเป็นสีม่วงแดง เรียกว่า ต้นว่านชักมดลูกตัวผู้ ส่วนต้นที่ใบมีสีเส้นกลางใบเป็นสีเขียว เรียกว่า ว่านชักมดลูกตัวเมีย
|
ลักษณะของใบ |
ใบ ใบว่านชักมดลูก ว่านทรหด มีลักษณะใบเป็นใบเดี่ยว ใบมีลักษณะรียาว ใบมีขนาดกว้างประมาณ 15 ? 20 ซม. ยาวประมาณ 40 ? 100 ซม. ใบมองเห็นเป็นแถบยาวของเส้นใบอย่างชัดเจน แถบเส้นใบกว้างประมาณ 0.5 ? 1 ซม. โดยต้นที่ใบมีเส้นกลางใบเป็นสีม่วงแดง เรียกว่า ต้นว่านชักมดลูกตัวผู้ ส่วนต้นที่ใบมีสีเส้นกลางใบเป็นสีเขียว เรียกว่า ว่านชักมดลูกตัวเมีย
|
ลักษณะของผล |
ไม่มี
|
ลักษณะของดอก |
ดอก ดอกว่านชักมดลูก ว่านทรหด มีลักษณะเป็นช่อ ไม่รวมกันเป็นกระจุก แยกออกในทิศที่แตกต่างกันบนก้านดอกประกอบด้วยก้านช่อดอกยาวประมาณ 15 ? 20 ซม. มีใบประดับสีชมพูอ่อน กลีบรองดอกสีแดงสด และเมื่อเจริญเต็มที่จะมีสีเหลืองคล้ายดอกขมิ้นชัน
|
รายละเอียดของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของต้น |
เหง้า หัวว่านชักมดลูก ว่านทรหด จัดเป็นพืชล้มลุกปีเดียว อยู่ในกลุ่มของขิง ข่า โดยมีส่วนเหง้าหรือหัวหรือลำต้นแท้อยู่ใต้ดิน เหง้ามีสีส้มอ่อนหรือส้มออกแดง
|
ประโยชน์ |
ราก แก้ท้องอืดเฟ้อ
เหง้า เป็นยาบีบมดลูก ทำให้มดลูกเข้าอู่เร็วหลังจากการคลอดบุตร ทำให้ประจำเดือนมาปกติ ขับประจำเดือนในกรณีที่ประจำเดือนมาไม่ปกติ รักษาโรคมดลูกพิการปวดบวม แก้ปวดมดลูก แก้ริดสีดวงทวาร แก้ไส้เลื่อน ขับเลือด ขับลม ขับน้ำคาวปลา แก้โรคลม รักษาอาการอาหารไม่ย่อย
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|