ไม้เลื้อย | -

First slide
QR-CODE

ชื่อวิทยาศาสตร์

Cissus quadrangularis L.

ชื่อสามัญ

-

ชื่ออื่น

ขั่นข้อ (ราชบุรี) สันชะควด (กรุงเทพฯ) สามร้อยต่อ (ประจวบคีรีขันธ์)

วงค์ หมวดหมู่

VITACEAE

ประเภทพันธ์ไม้

ไม้เลื้อย

ชนิดของลำต้น

ลำต้นเหนือดิน

สภาพทางนิเวศน์

การขยายพันธ์

ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด หรือปักชำกิ่ง โดยนำข้อไปปักชำหรือนำไปปลูกลงดิน

การจัดเรียงตัวของใบ

เรียงสลับ

รูปร่างของใบ

รูปสามเหลี่ยม

แบ่งชนิดของผล

ผลกลุ่ม

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของเปลือก

ไม่มี

ลักษณะของใบ

ใบเป็นใบเดี่ยวรูปสามเหลี่ยม แผ่นใบเรียบสีเขียวเป็นมัน ออกเรียงสลับตามข้อต้น ปลายใบมน โคนใบเว้า ขอบใบหยักมนห่าง ๆ ก้านยาว 2-3 เซนติเมตร

ลักษณะของใบ

ใบเป็นใบเดี่ยวรูปสามเหลี่ยม แผ่นใบเรียบสีเขียวเป็นมัน ออกเรียงสลับตามข้อต้น ปลายใบมน โคนใบเว้า ขอบใบหยักมนห่าง ๆ ก้านยาว 2-3 เซนติเมตร

ลักษณะของผล

ผลเป็นรูปทรงกลม ผิวเรียบเป็นมัน ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีแดงออกดำ ในผลมีเมล็ดกลมสีน้ำตาล 1 เมล็ด โดยส่วนที่นำมาใช้เป็นยาสมุนไพร ได้แก่ เถา ราก ใบยอดอ่อน และน้ำจากต้น

ลักษณะของดอก

ดอกเป็นสีเขียวอ่อน ออกเป็นช่อตามข้อตรงข้ามกับใบ กลีบดอกมี 4 กลีบ โคนด้านนอกสีแดง ด้านในเขียวอ่อน เมื่อดอกบานเต็มที่จะงองุ้มไปด้านล่าง ที่ดอกมีเกสรเพศผู้ 4 อัน

รายละเอียดของเปลือก

ไม่มี

ลักษณะของต้น

เป็นไม้เถา เถาอ่อนสีเขียวเป็นสี่เหลี่ยมเป็นข้อต่อกัน

ประโยชน์

น้ำจากต้น ใช้หยอดหู แก้น้ำหนวกไหล หยอดจมูกแก้เลือดเสียในสตรีประจำเดือนไม่ปรกติ เป็นยาธาตุเจริญอาหาร ใบยอดอ่อน รักษาโรคลำไส้เกี่ยวกับอาหารไม่ย่อย ใบ ราก เป็นยาพอก เถา ใช้เป็นยาแก้ริดสีดวงทวารหนัก

สถานที่พบ

ส่วนป่าวิทยาลัย