QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Piper sarmentosum Roxb.
|
ชื่อสามัญ |
Wildbetal Leafbush
|
ชื่ออื่น |
นมวา (ภาคใต้) ผักปูนา ผักพลูนก พลูลิง (ภาคเหนือ) เย่เท้ย (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
|
วงค์ หมวดหมู่ |
PIPERACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ล้มลุก
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ขยายพันธุ์ต้นชะพลูด้วยวิธีการตัดหรือเด็ดกิ่งก้านส่วนยอดของต้นชะพลู
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปหัวใจ
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลรวม
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของใบ |
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ แผ่นใบบาง ผิวใบเรียบสีเขียวเข้มเป็นมัน ใบรูปหัวใจ กว้าง 5-10 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้า
|
ลักษณะของใบ |
ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ แผ่นใบบาง ผิวใบเรียบสีเขียวเข้มเป็นมัน ใบรูปหัวใจ กว้าง 5-10 ซม. ยาว 7-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้า
|
ลักษณะของผล |
ผล เป็นผลสด กลม อัดแน่นอยู่บนแกน
|
ลักษณะของดอก |
ดอก ออกเป็นช่อที่ซอกใบรูปทรงกระบอก ดอกเล็กสีขาวอัดแน่นอยู่บนแกนช่อดอก ดอกแยกเพศ
|
รายละเอียดของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของต้น |
ลำต้นทอดคลานไปตามพื้นดิน สูง 30-80 เซนติเมตร ลำต้นสีเขียว มีไหลงอกเป็นต้นใหม่ มีรากงอกออกตามข้อ
|
ประโยชน์ |
ผล เป็นส่วนผสมของยารักษาโรคหืด แก้บิด
ราก ต้น ดอก ใบ ขับเสมหะ
ราก แก้ธาตุพิการ บำรุงธาตุ แก้ท้องขึ้นอืดเฟ้อขับลม แก้บิด
ทั้งต้น แก้เสมหะ ท้องอืด ท้องเฟ้อ รักษาโรคเบาหวาน
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|