QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Citrus hystrix DC.
|
ชื่อสามัญ |
Leech lime, Mauritus papeda
|
ชื่ออื่น |
มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะขู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ส้มกรูด ส้มมั่วผี (ภาคใต้)
|
วงค์ หมวดหมู่ |
RUTACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ยืนต้น
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
การเพาะเมล็ด ตอนกิ่งหรือทาบกิ่ง
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปไข่
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลรวม
|
ประเภทของดอก |
ดอกเดียว
|
ประเภทของดอก |
ดอกเดียว
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
ใบประกอบชนิดลดรูป เรียงสลับ มีใบย่อย 1 ใบ รูปไข่กว้าง 2.5 ? 7 เซนติเมตร ยาว 4 ? 7 เซนติเมตร ผิวใบเรียบเป็นมัน ใบมีสีเขียวแก่ค่อนข้างหนา มีต่อมน้ำมัน กลิ่นหอม ก้านใบแผ่เป็นแผ่นใบขนาดใหญ่เท่ากับแผ่นใบ
|
ลักษณะของใบ |
ใบประกอบชนิดลดรูป เรียงสลับ มีใบย่อย 1 ใบ รูปไข่กว้าง 2.5 ? 7 เซนติเมตร ยาว 4 ? 7 เซนติเมตร ผิวใบเรียบเป็นมัน ใบมีสีเขียวแก่ค่อนข้างหนา มีต่อมน้ำมัน กลิ่นหอม ก้านใบแผ่เป็นแผ่นใบขนาดใหญ่เท่ากับแผ่นใบ
|
ลักษณะของผล |
ผลแบบส้ม รูปร่างค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 ? 7 เซนติเมตร ผิวขรุขระ ผลอ่อนสีเขียวเมื่อสุกมีสีเหลือง
|
ลักษณะของดอก |
ดอกเดี่ยว หรือช่อดอกแบบกระจุก ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกสีขาว กลีบดอก 4 ? 8 กลีบ กลีบดอกรูปรี ร่วงง่าย เมื่อดอกบานเต็มที่มีเส้นผ่านศู
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกต้นเรียบ สีน้ำตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน
|
ลักษณะของต้น |
ไม้ต้น ขนาดเล็ก สูง 2 ? 8 เมตร ลำต้นและกิ่งมีหนามแข็ง เปลือกนอกสีน้ำตาล เรียบ
|
ประโยชน์ |
ราก กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ
ใบ มีน้ำมันหอมระเหย
ผล, น้ำคั้นจากผล ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทำให้ผมสะอาด
ผิวจากผล ปรุงเป็นยาขับลมในลำไส้ แก้แน่น เป็นยาบำรุงหัวใจ
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|