QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Cymbopogon nardus Rendle
|
ชื่อสามัญ |
Citronella grass
|
ชื่ออื่น |
จะไคมะขูด ตะไครมะขูด (ภาคเหนือ) ตะไคร้แดง (นครศรีธรรมราช)
|
วงค์ หมวดหมู่ |
GRAMINEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ล้มลุก
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ตะไคร้สามารถขยายพันธุ์ได้ด้วยการปักชำต้นเหง้า
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปเข็ม
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลกลุ่ม
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของใบ |
ใบ เดี่ยวเรียงสลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 70-100 ซม. แผ่นใบและขอบใบสากและคม (ตะไคร้หอมใบยาวและนิ่มกว่าตะไคร้ธรรมดาเล็กน้อย ทำให้ปลายห้อยลงปรกดินกว่า)
|
ลักษณะของใบ |
ใบ เดี่ยวเรียงสลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 70-100 ซม. แผ่นใบและขอบใบสากและคม (ตะไคร้หอมใบยาวและนิ่มกว่าตะไคร้ธรรมดาเล็กน้อย ทำให้ปลายห้อยลงปรกดินกว่า)
|
ลักษณะของผล |
ผลเป็นผลแห้ง ไม่แตก
|
ลักษณะของดอก |
ดอก ช่อ สีน้ำตาลแดง แทงออกจากกลางต้น ออกดอกยาก
|
รายละเอียดของเปลือก |
ไม่มี
|
ลักษณะของต้น |
ไม้ล้มลุก อายุหลายปี สูง 0.75-1.2 เมตร แตกเป็นกอ เหง้าใต้ดินมีกลิ่นเฉพาะ ข้อและปล้องสั้นมาก
|
ประโยชน์ |
แก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหงเป็นแผลในปาก)
ปรุงเป็นยาขับลมในลำไส้ และแก้แน่นได้ด้วย
สตรีมีครรภ์รับประทานให้ตกลูกหรือทำลายโลหิตให้ด้วย (ทำให้แท้ง) คือมีอำนาจในทางบีบรัดมดลูกได้ดีด้วย
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|