QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Phyllocarpus septentrionalis Donn Sm.
|
ชื่อสามัญ |
Monkey Flower Tree, Fire of Pakistan
|
ชื่ออื่น |
วาสุเทพ
|
วงค์ หมวดหมู่ |
CAESALPINIOIDEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ยืนต้น
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
การเพาะเมล็ด
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับระนาบเดียว
|
รูปร่างของใบ |
รูปไข่
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลรวม
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้ร่อง
|
ลักษณะของใบ |
ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ แกนกลางใบประกอบยาว 13-15 ซม.ใบย่อย 3-5 คู่ เรียงตรงข้ามและเรียงจากขนาดเล็กไปใหญ่ จากโคนถึงปลาย รูปไข่หรือรูปรีแกมรูปใบหอก กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 4-6 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลมและเบี้ยว ขอบใบเรียบ แผ่นใบบาง แต่ค่อนข้างเหนียว สีเขียวสดเกลี้ยง
|
ลักษณะของใบ |
ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ เรียงสลับ แกนกลางใบประกอบยาว 13-15 ซม.ใบย่อย 3-5 คู่ เรียงตรงข้ามและเรียงจากขนาดเล็กไปใหญ่ จากโคนถึงปลาย รูปไข่หรือรูปรีแกมรูปใบหอก กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 4-6 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบแหลมและเบี้ยว ขอบใบเรียบ แผ่นใบบาง แต่ค่อนข้างเหนียว สีเขียวสดเกลี้ยง
|
ลักษณะของผล |
ผลแห้ง เป็นฝักทรงแบนแผ่เป็นปีก รูปรีแกมรูปขอบขนาน คล้ายใบ กว้าง 1-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. ฝักเหนียวมีเส้นนูนคล้ายเส้นใบ มีกระเปาะกลมหรือรูปรีนูนเด่น สีเขียวอ่อน เมื่อสุกสีน้ำตาลแดง เมล็ด ค่อนข้างกลมแบน สีน้ำตาลอ่อน ส่วนมากมี 1 เมล็ดต่อฝัก ติดผลเดือน มี.ค.-เม.ย. ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด
|
ลักษณะของดอก |
สีแดงอมส้ม มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงหลั่น ที่รอยแผลของก้านใบและปลายกิ่ง ช่อดอกตั้งยาว 5-7 ซม. ดอกย่อยรูปดอกหางนกยูง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่ สีแดง กลีบดอก 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 9-10 อัน สีแดง เส้นผ่านศูนย์กลางดอก 1.5-2 ซม. ออกดอก เดือน ม.ค.-ก.พ.
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกลำต้นหนาเป็นสีน้ำตาลเทา แตกหยาบ ๆ เป็นร่องลึก
|
ลักษณะของต้น |
เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่มีความสูงประมาณ 10 -12 เมตร ผิวเปลือกลำต้นมีสีน้ำตาลอ่อน เรือนยอดแผ่กว้างกิ่งลู่ลง ผลัดใบ ใบเป็นรูปมนรีออกเป็นคู่ สลับกันตามลำต้น ลักษณะของใบปลายแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ มีสีเขียว ออกดอกเป็นช่อ ช่อดอกสีแดงสด ดอกจะบานไม่พร้อมกัน จะทยอยกันบานไล่ขึ้นไปตั้งแต่โคนก้านช่อจนถึงปลายช่อ เวลาบานจะแดงสพรั่งทั้งต้น เกสรยาวยื่นออกมากลางดอก ดอกมีกลิ่นหอม ออกดอกช่วงเดือนมกราคม*มีนาคม ผลเป็นฝักแบนรูปขอบขนานโค้งเล็กน้อย เมล็ดแบน มีถิ่นกำเนิดในประเทศกัวเตมาลา ทวีปอเมริกาใต้
|
ประโยชน์ |
ปลูกตามแนวถนน ให้ดอกสีแดงดูงามตา และดอกมีกลิ่นหอมอ่อนๆ
สรรพคุณของประดู่
เปลือกต้นมีรสฝาดจัด มีสรรพคุณเป็นยาบำรุงร่างกาย (เปลือกต้น)
แก่นเนื้อไม้ประดู่ มีรสขมฝาดร้อน มีสรรพคุณเป็นยาบำรุงโลหิต บำรุงกำลัง บำรุงธาตุในร่างกาย (แก่น)
แก่นเนื้อไม้ใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้ไข้ แก้พิษไข้ (แก่น) ส่วนรากใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้พิษไข้ (ราก)
แก่นเนื้อไม้ใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้เสมหะ (แก่น)
ใบนำมาตากแห้งใช้ชงกับน้ำร้อนเป็นชาใบประดู่ นำมาดื่มจะช่วยบรรเทาอาการระคายคอได้ (ใบ)
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|