QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Casurina junghuhniana Miq.
|
ชื่อสามัญ |
Iron Wood
|
ชื่ออื่น |
สนประดิพัทธ์
|
วงค์ หมวดหมู่ |
CASUARINACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ยืนต้น
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ขยายพันธุ์โดยการปักชำหรือตอนกิ่ง
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงเป็นวงรอบ
|
รูปร่างของใบ |
รูปสามเหลี่ยม
|
แบ่งชนิดของผล |
ไม่มี
|
ประเภทของดอก |
ไม่มี
|
ประเภทของดอก |
ไม่มี
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้ร่อง
|
ลักษณะของใบ |
ใบเดี่ยว เรียงเวียนเป็นวงกลมที่ข้อกิ่งข้อละ 8-10 ใบ รูปสามเหลี่ยม เป็นสะเก็ดขนาดเล็กคล้ายหนามแหลม ปลายใบแยกเป็นซี่จักเล็กๆ โคนใบเชื่อมติดกัน ยอดอ่อนหรือปลายกิ่งอ่อนมีสีแดง
ดอก ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกเพศผู้ สีน้ำตาลอ่อนหรือสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงลดที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบองเรียว ช่อดอกตั้งยาว 1-3 ซม. เกสรเพศผู้ 1 อัน สีน้ำตาล ดอกเพศเมีย สีน้ำตาลอมเทา ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่งสั้นๆ รูปทรงกระบอก หรือเกือบกลม ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก แต่มีกลีบประดับขนาดเล็ก 2 กลีบ เส้นผ่านศูนย์กลางช่อดอกประมาณ 0.5 ซม. ออกดอกเดือน ธ.ค.-ก.พ.
|
ลักษณะของใบ |
ใบเดี่ยว เรียงเวียนเป็นวงกลมที่ข้อกิ่งข้อละ 8-10 ใบ รูปสามเหลี่ยม เป็นสะเก็ดขนาดเล็กคล้ายหนามแหลม ปลายใบแยกเป็นซี่จักเล็กๆ โคนใบเชื่อมติดกัน ยอดอ่อนหรือปลายกิ่งอ่อนมีสีแดง
ดอก ดอกแยกเพศแยกต้น ดอกเพศผู้ สีน้ำตาลอ่อนหรือสีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อเชิงลดที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบองเรียว ช่อดอกตั้งยาว 1-3 ซม. เกสรเพศผู้ 1 อัน สีน้ำตาล ดอกเพศเมีย สีน้ำตาลอมเทา ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่นที่ปลายกิ่งสั้นๆ รูปทรงกระบอก หรือเกือบกลม ไม่มีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก แต่มีกลีบประดับขนาดเล็ก 2 กลีบ เส้นผ่านศูนย์กลางช่อดอกประมาณ 0.5 ซม. ออกดอกเดือน ธ.ค.-ก.พ.
|
ลักษณะของผล |
ไม่พบว่าติดผลในไทย เนื่องจากมีแต่ต้นเพศผู้
|
ลักษณะของดอก |
-
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกต้นสีน้ำตาลเข้ม แตกเป็นร่องตามแนวยาว
|
ลักษณะของต้น |
เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางมีความสูงประมาณ 10-20 ม. ไม้ผลัดใบ ลำต้นเปลาตรง เปลือกของลำต้น สีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นร่องตื่น ๆ ลอกเป็นแผ่นลึก ๆ ห้อยตามลำต้น รูปทรง (เรือนยอด) รูปกรวยแหลม กิ่งขนาดเล็กทำมุกแหลมกับลำต้นและแตกกิ่งเป็นระเบียบ ใบ ใบเล็กแหลมติดอยู่ตามข้อของกิ่งย่อย
|
ประโยชน์ |
ใช้ลำต้นในการทำเสาโป๊ะ เสากระโดงเรือ ไม้ค้ำยันในการก่อสร้าง เนื่องจากลำต้นสนประดิพัทธ์มีความแข็งแรงสูง
ใช้ลำต้นในการทำฟืนและถ่าน ซึ่งจะให้ความร้อนสูงเช่นเดียวกับไม้โกงกาง และไม่แตกประทุเช่นเดียวกัน
ใช้ทำไม้กระดาน ไม้ฝา และยังเป็นไม้แปรรูปขนาดเล็ก เฟอร์นิเจอร์ พื้นปาร์เก้
ปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป เป็นแนวกันลม หรือ ปลูกตามแนวถนน และยังตัดแต่งเพื่อให้เข้ากับสถานที่นั้นๆได้อีกด้วย
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|