QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Ptychesperma macarthuii (H.) wendlPtychesperma macarthuii (H.) wendl
|
ชื่อสามัญ |
Macarthurs Palm
|
ชื่ออื่น |
ปาล์มหมาก , หมากฝรั่ง , หมากพร้าว
|
วงค์ หมวดหมู่ |
ARECACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ประดับอื่นๆ
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
เพาะเมล็ด แยกหน่อ
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับระนาบเดียว
|
รูปร่างของใบ |
รูปเข็ม
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลเดี่ยว
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของดอก |
ช่อดอก
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้เรียบ
|
ลักษณะของใบ |
ใบยาว 1.5 - 2 เมตร ลักษณะเหมือนใบมะพร้าว มีใบดก แต่มีความบอบบาง ก้านใบและส่วนใบไม่นิยมใช้ประโยชน์ ส่วนของกาบใบ เรียกว่า กาบปูเล มีความหนา และแข็งพอสมควร นิยมนำมาใช้ห่อของ ทำซองใส่มีด และชาวบ้านในภาคใต้ทำพับห่อทำเป็นภาชนะสำหรับตักน้ำ เรียกว่า หมา หรือ หมาตักน้ำ ขณะที่เด็กๆ ยังนำไปรองนั่ง ผลัดกันลาก เป็นของใช้เล่นอีกอย่างหนึ่งของเด็กไทยสมัยก่อน
|
ลักษณะของใบ |
ใบยาว 1.5 - 2 เมตร ลักษณะเหมือนใบมะพร้าว มีใบดก แต่มีความบอบบาง ก้านใบและส่วนใบไม่นิยมใช้ประโยชน์ ส่วนของกาบใบ เรียกว่า กาบปูเล มีความหนา และแข็งพอสมควร นิยมนำมาใช้ห่อของ ทำซองใส่มีด และชาวบ้านในภาคใต้ทำพับห่อทำเป็นภาชนะสำหรับตักน้ำ เรียกว่า หมา หรือ หมาตักน้ำ ขณะที่เด็กๆ ยังนำไปรองนั่ง ผลัดกันลาก เป็นของใช้เล่นอีกอย่างหนึ่งของเด็กไทยสมัยก่อน
|
ลักษณะของผล |
ผลของหมากเป็นรูปกลมรีคล้ายลูกรักบี้ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านกว้างประมาณ 1 - 2 นิ้ว ด้านยาวประมาณ 1.5-2.5 นิ้ว เปลือกนอกเป็นเส้นใย ผิวของผลเมื่ออ่อนสีเขียว เมื่อแก่แล้วออกสีส้มแดง เรียกว่า สีหมากสุก เมื่อผลสุกจะร่วงจากขั้ว หากปล่อยไว้ เปลือกจะเหี่ยวแห้ง ยุ่ย สามารถดึงออก เหลือแต่เหมล็ดข้างในได้โดยง่าย หมากเป็นพืชที่มีเกษรตัวผู้และเกษรตัวเมียอยู่ในทะลายดียวกัน
|
ลักษณะของดอก |
ดอกช่อแยกแขนง
|
รายละเอียดของเปลือก |
เรียบ สีเขียวออกน้ำตาล
|
ลักษณะของต้น |
เป็นปาล์มต้นเดี่ยว ขนาดกลาง เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น 15-20 ซม. สูงถึง 25 ม. ลำต้นเปลาตรง มีปล้องสีขาวเด่นชัด คอยอดสีเขียว กาบใบยาว ประมาณ 80-100 ซม. ลักษณะเป็นท่อห่อหุ้มคอยอด
|
ประโยชน์ |
ปลูกเป็นไม้ประดับสวนหย่อม
เมล็ดหมาก เมื่อนำมาสกัดจะได้ไขมัน เมือก ยางและสารอัลคาลอยด์ ชื่อ Arecoline มีแทนนิน (Tannin) สูง จึงสามารถใช้ในทางอุตสาหกรรมและยารักษาโรคได้หลายชนิด เช่น
ใช้ทำสีต่าง ๆ
ใช้ย้อมแห อวน ทำให้แห และอวนนิ่ม และอ่อนตัว ยืดอายุการใช้งานได้นาน เส้นด้าย ไม่เปื่อยเร็ว
ใช้สกัดทำยารักษาโรค เช่น ยาสมานแผล ยาขับพยาธิในสัตว์ ยาแก้ท้องเดิน ท้องเสีย ยาขับพิษ ยาทาแก้คัน น้ำมันนวด ยาขับปัสสาะ และยาแก้ปากเปื่อย เป็นต้น
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|