QR-CODE |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Acrostichum aureum L.
|
ชื่อสามัญ |
Leather fern, Swamp fern
|
ชื่ออื่น |
ปรงทอง, ปรงไข่, ปรงใหญ่, บีโย (มลายู-สตูล)
|
วงค์ หมวดหมู่ |
PTERIDACEAE
|
ประเภทพันธ์ไม้ |
ไม้ประดับอื่นๆ
|
ชนิดของลำต้น |
ลำต้นเหนือดิน
|
สภาพทางนิเวศน์ |
|
การขยายพันธ์ |
ขยายพันธุ์โดยใช้สปอร์และลำต้นปรงทะเล
|
การจัดเรียงตัวของใบ |
เรียงสลับ
|
รูปร่างของใบ |
รูปใบหอก
|
แบ่งชนิดของผล |
ผลเดี่ยว
|
ประเภทของดอก |
ดอกไม่สมบูรณ์
|
ประเภทของดอก |
ดอกไม่สมบูรณ์
|
ประเภทของเปลือก |
เปลือกไม้ร่อง
|
ลักษณะของใบ |
เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ แผ่นใบรูปใบหอก ขนาด 30-60 x 60-180 ซม. ก้านใบมีหนามแข็งสั้นๆ ใบย่อยรูปขอบขนานแคบ ขนาด 4-8 x 30-50 ซม. มี 15-30 คู่ เรียงสลับ ผิวเรียบเป็นมัน ใบไม่สร้างสปอร์ ปลายใบกลม ถึงหยักเว้า และมีติ่งหนามสั้นๆ ฐานใบรูปลิ่มถึงมนกลม สองข้างไม่เท่ากัน เส้นกลางใบนูนเด่น เส้นใบสานกันเป็นร่างแห ก้านใบย่อยสั้น ใบย่อยที่สร้างสปอร์อยู่ตอนปลายกิ่ง มีขนาดเล็กกว่าใบย่อยที่ไม่สร้างสปอร์ ซึ่งอยู่ทางด้านโคนใบ กลุ่มของอับสปอร์เรียงตัวชิดกัน เต็มพื้นที่ด้านล่างของแผ่นใบย่อย มีขนปกคลุมเล็กน้อย
|
ลักษณะของใบ |
เป็นใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ แผ่นใบรูปใบหอก ขนาด 30-60 x 60-180 ซม. ก้านใบมีหนามแข็งสั้นๆ ใบย่อยรูปขอบขนานแคบ ขนาด 4-8 x 30-50 ซม. มี 15-30 คู่ เรียงสลับ ผิวเรียบเป็นมัน ใบไม่สร้างสปอร์ ปลายใบกลม ถึงหยักเว้า และมีติ่งหนามสั้นๆ ฐานใบรูปลิ่มถึงมนกลม สองข้างไม่เท่ากัน เส้นกลางใบนูนเด่น เส้นใบสานกันเป็นร่างแห ก้านใบย่อยสั้น ใบย่อยที่สร้างสปอร์อยู่ตอนปลายกิ่ง มีขนาดเล็กกว่าใบย่อยที่ไม่สร้างสปอร์ ซึ่งอยู่ทางด้านโคนใบ กลุ่มของอับสปอร์เรียงตัวชิดกัน เต็มพื้นที่ด้านล่างของแผ่นใบย่อย มีขนปกคลุมเล็กน้อย
|
ลักษณะของผล |
ผลปรงมีรูปร่างทรงกลมรี หรือ รูปไข่ ผลอ่อนหรือดิบมีสีเขียวสด เมื่อสุกมีสีส้มหรือสีแดง ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ ส่วนเมล็ดมีลักษณะรูปไข่ เปลือกเมล็ดแข็ง สีน้ำตาล ด้านในเป็นเนื้อเมล็ดที่มีขนาดใหญ่
|
ลักษณะของดอก |
ปรงมีดอกเป็นดอกไม่สมบูรณ์เพศ แยกกันอยู่คนละต้น โดยดอกเพศผู้จะอัดแน่นเป็นช่อทรงกรวยที่ปลายยอด มีสปอร์เรียงรอบแกนกลาง ส่วนดอกเพศเมียจะเป็นกาบระหว่างใบ มีไข่อ่อนกลม ๆ ติดอยู่ระหว่างโคน ซึ่งไม่ค่อยจะออกดอกให้เห็นสักเท่าไร
|
รายละเอียดของเปลือก |
เปลือกขรุขระ มีร่องลึกชัดเจน
|
ลักษณะของต้น |
เป็นพืชพวกเฟิร์น มีลำต้นเป็นเหง้าอยู่ใต้ดิน ชูส่วนของใบขึ้นมาเป็นกอ ที่เหง้ามีเกล็ดใหญ่สีน้ำตาลคล้ำ โคนต้นมีรากค้ำยัน
|
ประโยชน์ |
นิยมปลูกเป็นไม้กระถางเพื่อควบคุมการกระจายพันธุ์ ทนสภาพดินเค็มได้ดี จึงมักพบขึ้นบริเวณน้ำกร่อย หากปลูกในที่มีแสงแดดเต็มวัน สีใบจะซีดกว่าปลูกในที่ร่มและมีน้ำมาก
|
สถานที่พบ |
ส่วนป่าวิทยาลัย
|