ไม้ล้มลุก | Ruellias, Wild petunias

First slide
QR-CODE

ชื่อวิทยาศาสตร์

Ruellia squarrosa (Fenzi) Cufod.

ชื่อสามัญ

Ruellias, Wild petunias

ชื่ออื่น

ต้อยติ่งเทศ,ต้อยติ่งน้ำ

วงค์ หมวดหมู่

ACANTHACEAE

ประเภทพันธ์ไม้

ไม้ล้มลุก

ชนิดของลำต้น

ลำต้นเหนือดิน

สภาพทางนิเวศน์

การขยายพันธ์

ปักชำกิ่ง เพาะเมล็ด

การจัดเรียงตัวของใบ

เรียงตรงข้าม

รูปร่างของใบ

รูปรี

แบ่งชนิดของผล

ผลรวม

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของดอก

ช่อดอก

ประเภทของเปลือก

เปลือกไม้เรียบ

ลักษณะของใบ

ใบเดี่ยว ออกเรียงกันเป็นคู่ๆไปตามข้อของลำต้น แผ่นใบมีสีเขียว ลักษณะใบเป็นรูปมนรี ปลายใบมน โคนใบแหลม ส่วนขอบใบเรียบไม่มีจักและอาจมีคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 นิ้ว และยาวประมาณ 2.5-3 นิ้ว

ลักษณะของใบ

ใบเดี่ยว ออกเรียงกันเป็นคู่ๆไปตามข้อของลำต้น แผ่นใบมีสีเขียว ลักษณะใบเป็นรูปมนรี ปลายใบมน โคนใบแหลม ส่วนขอบใบเรียบไม่มีจักและอาจมีคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 1-1.5 นิ้ว และยาวประมาณ 2.5-3 นิ้ว

ลักษณะของผล

เป็นฝักยาว ยาวได้ประมาณ 1 นิ้ว ถ้าฝักได้รับความชื้นหรือถูกน้ำมาก ๆ ก็จะแตกออกเป็น 2 ซีก ภายในฝักมีเมล็ดอยู่ 8 เมล็ด

ลักษณะของดอก

ออกดอกเป็นช่อหรือบางทีออกเป็นดอกเดี่ยว ๆ ตามง่ามใบบริเวณส่วนยอดของต้น ดอกเป็นสีม่วง ดอกมีลักษณะเป็นรูปกรวย ปลายดอกแยกออกเป็น 5 กลีบ กลางดอกมีเกสร 4 ก้าน แบ่งเป็นก้านสั้น 2 ก้านและก้านยาว 2 ก้าน

รายละเอียดของเปลือก

เปลือกสีดำบ่นน้ำตาล

ลักษณะของต้น

ไม้ล้มลุก สูง 20-30 เซนติเมตร มีขนอ่อนๆ ขึ้นปกคลุมอยู่เล็กน้อย ลำต้นมีข้อปล้องชัดเจน

ประโยชน์

นอกจากการปลูกเพื่อความสวยงามแล้ว ต้อยติ่งสามารถนำมาใช้เป็นยาสมุนไพรในการรักษาโรคต่างๆได้มากมาย เช่น รากใช้เป็นยารักษาโรคไต โรคไอกรน หรือแม้แต่เป็นยาขับเลือด ถ้าใช้ในปริมาณที่เจือจางก็สามารถกำจัดสารพิษในเลือด บรรเทาอาการสารพิษตกค้างในปัสสาวะ ส่วนใบของต้อยติ่งใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ หรือใช้พอกแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อได้

สถานที่พบ

ส่วนป่าวิทยาลัย